Tuesday, February 23, 2010

Kongo Gumi : The End of Oldest Family Business

The world's oldest continuously operating family business ended its impressive run last year. Japanese temple builder Kongo Gumi, in operation under the founders' descendants since 578, succumbed to excess debt and an unfavorable business climate in 2006.

How do you make a family business last for 14 centuries? Kongo Gumi's case suggests that it's a good idea to operate in a stable industry. Few industries could be less flighty than Buddhist temple construction. The belief system has survived for thousands of years and has many millions of adherents. With this firm foundation, Kongo had survived some tumultuous times, notably the 19th century Meiji restoration when it lost government subsidies and began building commercial buildings for the first time. But temple construction had until recently been a reliable mainstay, contributing 80% of Kongo Gumi's $67.6 million in 2004 revenues.

Keys to Success
Kongo Gumi also boasted some internal positives that enabled it to survive for centuries. Its last president, Masakazu Kongo, was the 40th member of the family to lead the company. He has cited the company's flexibility in selecting leaders as a key factor in its longevity. Specifically, rather than always handing reins to the oldest son, Kongo Gumi chose the son who best exhibited the health, responsibility, and talent for the job. Furthermore, it wasn't always a son. The 38th Kongo to lead the company was Masakazu's grandmother.
Another factor that contributed to Kongo Gumi's extended existence was the practice of sons-in-law taking the family name when they joined the family firm. This common Japanese practice allowed the company to continue under the same name, even when there were no sons in a given generation.

So if you want your family business to last a long time, the story of Kongo Gumi says you should mingle elements of conservatism and flexibility—stay in the same business for more than a millennium and vary from the principle of primogeniture as needed to preserve the company. The combination allowed Kongo Gumi to survive some notable hard times, such as when it switched temporarily to crafting coffins during World War II.

Burst BubbleThe circumstances of Kongo Gumi's demise also offer some lessons. Despite its incredible history, it was a set of ordinary circumstances that brought Kongo Gumi down at last. Two factors were primarily responsible. First, during the 1980s bubble economy in Japan, the company borrowed heavily to invest in real estate. After the bubble burst in the 1992-93 recession, the assets secured by Kongo Gumi's debt shrank in value. Second, social changes in Japan brought about declining contributions to temples. As a result, demand for Kongo Gumi's temple-building services dropped sharply beginning in 1998.

By 2004, revenues were down 35%. Masakazu Kongo laid off employees and tightened budgets. But in 2006, the end arrived. The company's borrowings had ballooned to $343 million and it was no longer possible to service the debt. In January, the company's assets were acquired by Takamatsu, a large Japanese construction company, and it was absorbed into a subsidiary.

To sum up the lessons of Kongo Gumi's long tenure and ultimate failure: Pick a stable industry and create flexible succession policies. To avoid a similar demise, evolve as business conditions require, but don't get carried away with temporary enthusiasms and sacrifice financial stability for what looks like an opportunity. These lessons are somewhat contradictory and paradoxical, to be sure. But if sustained success came easy, then all family businesses would have a 1,428-year run.

(From : James Olan Hutcheson, Businessweek, April 16, 2007. )


Now This part is writing in Thai version.



การศึกษาเกี่ยวกับธุรกิจครอบครัว ถ้าจะพูดถึงในโลกนี้มีการศึกษาไว้ค่อนข้าง-มากและการวิจัยถึงความสำเร็จและล้มเหลวก็ได้ทำกันอยู่เป็นระบบ มีข้อสรุปที่ชัดเจน รวมถึงการตั้งเป็นสมาคม สถาบันและพัฒนาธุรกิจครอบครัวกันโดยเฉพาะในกลุ่มประเทศตะวันตกที่เห็นความสำคัญในเรื่องนี้
10 ธุรกิจครอบครัวที่เก่าที่สุดในโลก

ก่อนที่จะเจาะลึกลงในรายละเอียดผู้เขียนอยากหยิบตัวเลขของบรรดาธุรกิจครอบครัวที่เก่าแก่อายุประมาณ 1,000 กว่าปีหรือมากน้อยไม่เท่าไหร่ใน 10 ธุรกิจครอบครัวที่เก่าแก่ที่สุดในโลกมาเปิดเผยให้ได้รู้จักกันว่าเป็นใครกันบ้าง
โดย O’Hara, W. จากการวิจัยในกลางปี 1990 ร่วมกับ Mandel, P. ผู้ก่อตั้งนิตยสาร “American’s Oldest Family Companies (ได้ปรับใหม่เมื่อฤดูร้อน 2003) และ “The World’s Oldest Foreign Family Companies” (ฤดูร้อน 2002) ได้นำเสนอธุรกิจครอบครัว 100 ธุรกิจที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยที่เก่าที่สุดในรายการทั้งหมดนั้นอายุน้อยที่สุดคือ 225 ปี และมี 4 ธุรกิจครอบครัวที่มีอายุมากกว่า 1,000 ปี ที่เก่าแก่ที่สุดคือ Kongo Gumi เป็นธุรกิจครอบครัวญี่ปุ่นที่ก่อสร้างวัด ซึ่งตั้งในปี 578

รายชื่อธุรกิจครอบครัว 10 อันดับที่เก่าแก่ที่สุดในโลก
ปีที่ก่อตั้ง
บริษัท
ประเทศ/เมืองต้นกำเนิด
จำนวนเจนเนอเรชั่น
สาขา
1.

2.

3.


4.


5


6.


7.

8.


9.

10.




























578

718

1000


1000


1141


1295


1304

1326


1369

1385




























Kongo Gumi

Hoshi Ryokam

Chateau de Goulaine

Marienlli


Barone Ricasali


Barovier & Toso


Hotel Pilgrim Haus

Richard De Bas


Torrini Firenze

Antinori
























Osaka, Japan

Komatsu, Japan

Haute Goulaine, France


Agnone, Italy


Siena, Italy


Murano Venezia, Italy


Soest, Germany

Amberts’ Auvergne, France

Florence, Italy

Florence, Italy
























40

46

*


*


*


20


*

*


*

19




























Construction

Innkeeping

Vineyard


Bell foundry


Wine and Olive Oil

Glass making

Innkeeping

Paper


Goldsmiths

Wine





















* ไม่ได้ระบุในข้อมูล
ซึ่งจากข้อมูลใน Wikipedia เกี่ยวกับธุรกิจครอบครัวใน 10 อันดับที่เก่าแก่ที่สุดในโลก มีความแตกต่างกันพอสมควรคือ อันดับ 1,2 เหมือนกันส่วนอันดับ 3 จะเป็น St.Peter (Austria) ส่วนอันดับ 4,5 จะตรงกับข้างต้นในลำดับถัดมาและที่เหลือไม่เหมือนกันทำให้น่าสืบค้นมากยิ่งขึ้น
สิ่งสำคัญอย่างยิ่งคือ เป็นข้อมูลที่น่าสนใจเพื่อสืบค้นต่อว่าเหล่าบรรดาธุรกิจครอบครัวที่เก่าแก่ของโลกเหล่านี้หรือเคล็ดลับอะไรจึงดำรงอยู่ได้เป็น 10 สิบเจนเนอเรชั่น
Kongo Gumi ก็ยังเดินทางมาถึงสุดทางถนน
Kongo Gumi ถือได้ว่าเป็นธุรกิจครอบครัวที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ซึ่งดำเนินธุรกิจในการสร้างวัดในญี่ปุ่น
ผลจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำในปี 1980 และฟอง สบู่ในปี 1992-93 ส่งผลต่อกิจการของ Kongo Gumi เป็นอย่างมากและลางร้ายได้เริ่มขึ้นในปี 1998 ที่ธุรกิจเริ่มตกต่ำลงมี หนี้จำนวนมาก

รูป: ปราสาท Shitenmoji (http://en.wikipedia.org...shitenmoji-pagoda.jpg/)
*แม้ว่าในปี 2004 บริษัทมีรายได้ลดลงถึง 35% Masakazu Kongo จึงได้เลิกจ้างพนักงานและเข้มงวดทางการเงิน แต่ก็ไม่อาจจะรอดได้ในปี 2006 ถนนที่ยาวไกลสายนี้ก็ได้สิ้นสุดลง โดยมีบริษัทก่อสร้างที่ใหญ่รายหนึ่ง Takamatsu ของญี่ปุ่นได้เข้ามาซื้อกิจการ

Hutcheson, J.O. (2007) ได้สรุปเรื่องราวของ Kongo Gumi ไว้ในรายงานของ Business Week (April, 2007) อย่างน่าสนใจทั้งปัจจัยแห่งความสำเร็จและล้มเหลวของบริษัทที่เก่าแก่ที่สุดในโลกนี้


รูป: Osaka Castle (http://en.wikipedia.org...osaka/ castle MO783.jpg)
ความสำเร็จของ Kongo Gumi

Masakazu Kongo เป็นสมาชิกครอบครัวในรุ่นที่ 40 ก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำบริษัท เขากล่าวถึงความสำเร็จที่มีมานั้นมีอยู่ 2-3 ปัจจัยด้วยกัน อาทิ
- การยืดหยุ่นของบริษัทในการเลือกผู้นำเป็น ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่ทำให้ธุรกิจมีอายุมาอย่างยาวนาน โดยเฉพาะไม่ได้เลือกลูกชายที่มีอายุสูงสุดขึ้นเป็นผู้นำกิจการ แต่ Kongo Gumi เลือกลูกชายที่มีสุขภาพดี มีความรับผิดชอบและชาญฉลาดในงาน และในบางครั้งก็ไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นผู้ชาย เนื่องจากในรุ่นที่ 38 ผู้นำบริษัทเป็นคุณย่า Masakazu
- อีกปัจจัยหนึ่งที่สร้างให้ Kongo Gumi ยืนยงได้คือ การให้ลูกเขยใช้ชื่อสกุลของครอบครัวเมื่อได้เข้ามาร่วมในธุรกิจครอบครัว สิ่งนี้ถือเป็นการปฏิบัติของชาวญี่ปุ่นโดยทั่วไปที่ยินยอมให้บริษัทดำเนินกิจการต่อเนื่องภายใต้ชื่อสกุลเดิม ในขณะที่ไม่มีบุตรในรุ่นถัดไป

- ถ้าท่านต้องการให้ธุรกิจครอบครัวมีอายุยืนอยู่ได้ยาวนาน เรื่องราวของธุรกิจ Kongo Guni ให้ข้อคิดว่า “ขอให้หลีกหนีเรื่อง การอนุรักษ์นิยมและความยืดหยุ่น แต่ควรมุ่งที่ธุรกิจหลักที่ดำเนินมาเป็นพันปีและอย่าเปลี่ยนแปลงไปจากหลักการของบรรพบุรุษคนแรกหรือต้นตระกูล (Primogeniture) ซึ่งเป็นหัวใจในการรักษาบริษัท

 จุดพลิกผันสู่สุดทางถนนที่ทอดยาวไกล
สิ่งที่ทำให้ Kongo Gumi ล้มเลิกกิจการไม่ว่าจะดำรงอยู่มานานนับได้ถึง 1,428 ปีนั้นมีอยู่ 2 ปัจจัยสำคัญคือ
(1) ในช่วงเศรษฐกิจฟองสบู่ปี 1980 ของญี่ปุ่น ธุรกิจได้กู้ยืมอย่างมากเพื่อลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ หลังจากนั้นฟองสบู่แตกในปี 1992-93 มูลค่าหลักทรัพย์ของบริษัทกลายเป็นหนี้สินทันที
(2) การเปลี่ยนแปลงทางสังคมในญี่ปุ่นได้นำไปสู่การถดถอยเกี่ยวกับการก่อสร้างวัดในญี่ปุ่น ทำให้ไม่มีใครต้องการสร้างวัดอีกต่อไปซึ่งปรากฏชัดเจนในปี 1998

บทเรียนนี้ให้ข้อคิดที่สำคัญทั้งผกผันและขัดแย้งกัน การอยู่ในอุตสาหกรรมที่มั่นคงและสร้างนโยบายที่ยืดหยุ่นในการสืบทอดธุรกิจ รวมถึงอย่าเคลื่อนไปยังความกระตือรือร้นชั่วคราวหรือสิ่งที่ก่อให้เกิดปัญหายุ่งยากทางการเงินเพียงเพราะว่า มองเห็นโอกาสถ้าความสำเร็จนั้นเป็นสิ่งที่ได้มาง่ายๆ ธุรกิจครอบครัวทั้งหลายอาจจะดำรงอยู่มากกว่า 1,400 ปี





ดร.ดนัย เทียนพุฒ
     นักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาอิสระ
วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิสถาบันพระปกเกล้า
โทร 0818338505  email: drdanait@gmail.com
Line ID : thailand081


No comments:

Post a Comment